163 Folgen

We aim to share knowledge regarding Risk Management but in a way of not serious or not academic style.

Low Risk High Return LowRiskHighReturn

    • Wirtschaft

We aim to share knowledge regarding Risk Management but in a way of not serious or not academic style.

    EP163: Scope x Context x Criteria = Risk

    EP163: Scope x Context x Criteria = Risk

    Pain point ของคนทำงานในการบริหารความเสี่ยง คือ ไม่รู้ว่าตนเองมีความเสี่ยงอะไรบ้าง นั่นคือ ไม่สามารถระบุความเสี่ยงได้ชัดเจน 

    ในขั้นตอนแรกของ กระบวนการบริหารความเสี่ยง จะกำหนดให้คนทำงานกำหนด Scope หรือ ขอบเขตของการทำงานที่กำลังบริหารความเสี่ยง ระบุสภาพแวดล้อม ปัจจัยที่เกี่ยวข้องระหว่างการทำงาน ลักษณะของ stakeholders และ ระบุเงื่อนไขหรือ Criteria ที่ทำให้เกิดความเสี่ยง

    EP นี้จะมาขยายความในขั้นตอนนี้ว่าเราจะกำหนด Scope, บรรยาย Context และระบุ Criteria ได้อย่างไร เพื่อนำไปสู่การระบุความเสี่ยงและบริหารความเสี่ยงในลำดับถัดไป

    • 11 Min.
    EP162: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (5) - ทับซ้อนขัดแย้ง สู่ คลี่คลายมิตรภาพ

    EP162: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (5) - ทับซ้อนขัดแย้ง สู่ คลี่คลายมิตรภาพ

    บทสรุปแห่งควารมขัดแย้งบนพื้นที่ทางทะเลที่เชื่อว่ามีทรัพยากรมูลค่ามหาศาล ตั้งแต่เริ่มต้นเมื่อ 50 กว่าปีก่อน

    บางช่วงเกิดความวุ่นวายในประเทศหนึ่ง บางตอนก็เกิดความวุ่นวายในอีกประเทศหนึ่ง ทอดเวลาจนถึงต้นปี 2567

    บางทีในครั้งนี้ ทั้งสองประเทศอาจจะหาทางออกร่วมกันเพื่อพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติเพื่อประโยชน์ของประชาชนทั้งสองประเทศได้

    แล้วพวกเราทั้งสองประเทศจะพัฒนาไปด้วยกัน

    • 16 Min.
    EP161: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (4) - กัมพูชา จากความวุ่นวายสู่สันติภาพ

    EP161: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (4) - กัมพูชา จากความวุ่นวายสู่สันติภาพ

    ประวัติศาสตร์กัมพูชายุคใหม่ หลังได้รับอิสรภาพจากฝรั่งเศส เกิดความขัดแย้งในอุดมการณ์ ประเทศเปลี่ยนแปลงการปกครองไปตามผู้นำกัมพูชาที่เข้ามามีอำนาจ โดยมีมหาอำนาจทั้งฝ่ายโลกเสรีและโลกคอมมิวนิสต์อยู่เบื้องหลัง เป็นสมรภูมิหนึ่งของสงครามตัวแทน ที่ทำให้ต้องสู้รบกันเองนานอยู่หลายปี

    เมื่อคอมมิวนิสต์ล่มสลาย องค์กรระหว่างประเทศเข้ามาช่วยจัดการ เกิดการเจรจา นำไปสู่การเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงประเทศเข้าสู่ยุคสันติภาพภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นราชอาณาจักรกัมพูชาอีกครั้ง 

    ช่วงที่เกิดความวุ่นวายนี้ ก็ทับซ้อนกับการประกาศพื้นที่ทับซ้อนทางทะเล การเจรจาแก้ปัญหาจึงไม่เกิดขึ้น

    EP นี้ เราจะมาทำความเข้าใจสถานการณ์ในช่วงนี้กันครับ

    • 10 Min.
    EP160: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (3) - UNCLOS กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการกำหนดเขตแดนทางทะเล

    EP160: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (3) - UNCLOS กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการกำหนดเขตแดนทางทะเล

    เขตแดนทางทะเลเพิ่งจะมีการกำหนดอย่างเป็นทางการเมื่อ สหประชาชาติออกอนุสัญญาว่าด้วยกฎหมายทางทะเล หรือ United Nation Convention on the Law Of The Sea ในปี 1958 และเพิ่มเติมในปี 1982 ทำให้การกำหนดเขตแดนมีความชัดเจนมากขึ้น แต่กระนั้นก็ตาม ความขัดแย้งก็ยังมีตามอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อเขตแดนทางทะเลนั้นมีผลประโยชน์อันเกิดจากทรัพยากรที่อยู่ในพื้นที่

    EP นี้จึงสรุปที่มาที่ไปและหลักในการกำหนดเขตแดนทางทะเลเพื่อทำความใจว่า อะไรที่ทำให้เกิดความขัดแย้งเกิดเป็นพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลขึ้น

    • 13 Min.
    EP159: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (2) - สยามเสียดินแดนในวิกฤตการณ์ ร.ศ.๑๑๒

    EP159: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (2) - สยามเสียดินแดนในวิกฤตการณ์ ร.ศ.๑๑๒

    ปัญหาของพื้นที่ทับซ้อนส่วนหนึ่งเกิดจากหลักเขตที่ 73 ที่กัมพูชาอ้างจากสนธิสัญญา สยาม-ฝรั่งเศส ร.ศ.๑๒๕ ที่สยามขอคืนพื้นที่ตราดและหมู่เกาะนอกชายฝั่ง 

    EP นี้จึงพาย้อนอดีตกลับไปยังเหตุการณ์ ร.ศ.๑๑๒ ที่เป็นมูลเหตุแห่งสนธิสัญญาฉบับนี้

    • 11 Min.
    EP158: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (1) – เขตแดนกำหนดอย่างไร

    EP158: พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา (1) – เขตแดนกำหนดอย่างไร

    ปัญหาพื้นที่ทับซ้อน ไทย-กัมพูชา สิ่งที่รับรู้เป็นการทั่วไปคือ กัมพูชามีการอ้างสิทธิ์พื้นที่ที่เรียกว่าไหล่ทวีปที่สามารถนำเอาไปเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่นั้นได้ โดยเฉพาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติประเทศไทยก็ใช้สิทธิ์ในการกำหนดพื้นที่ไหล่ทวีปที่เป็นสิทธิ์ของไทย ที่บางส่วนมีการทับซ้อนกับพื้นที่ที่กัมพูชาอ้างสิทธิ์ถึง 26,000 ตารางกิโลเมตรเรื่องราวที่ทำให้เกิดพื้นที่ทับซ้อนนั้น มีที่มาที่ไป มีองค์ประกอบ มีสาเหตุที่เกิดขึ้นตั้งแต่ในอดีต การทำความเข้าใจเรื่องราวความขัดแย้งนี้เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจในการหาทางออกในอนาคต จึงมีหลายเรื่องราวPodcast ของเราจึงนำเอาบันทึกการบรรยายแบ่งเป็นตอนย่อย ๆ 5 ตอนพิเศษEP นี้เป็นตอนแรกที่ว่าด้วยเรื่อง การกำหนดเขตแดนระหว่างประเทศเรียน

    เชิญทุกท่านติดตามรับฟังครับ

    • 9 Min.

Top‑Podcasts in Wirtschaft

The Diary Of A CEO with Steven Bartlett
DOAC
FinanzFabio - let‘s talk about money
FinanzFabio
A Bit of Optimism
iHeartPodcasts
A Book with Legs
Smead Capital Management
Alles auf Aktien – Die täglichen Finanzen-News
WELT
Génération Do It Yourself
Matthieu Stefani | Orso Media