2 min

ภาษาถิ่นพัทลุง “เด็กบ้านๆนิ” �‪�‬ Emma

    • Visual Arts

ภาษาถิ่นพัทลุง คำที่ (1) “โคม” แปลว่า กะละมัง ตัวอย่างเช่น ไปหยิบโคมให้แม่ที = ไปหยิบกะละมังให้แม่หน่อย (2) “หรอยหนัด” แปลว่า อร่อยมาก ตัวอย่างเช่น กินข้าวที่บ้านหรอยหนัด = กินข้าวที่บ้านอร่อยมาก (3) “ไซ่” แปลว่า ทำไม ตัวอย่างเช่น ไซ่เป็นคนพันนั้น = ทำไมเป็นคนแบบนั้น (4) “พรื้อโฉ้” แปลว่า ไม่ค่อยสบาย ตัวอย่างเช่น วันนี้รู้สึกพรื้อโฉ้จัง = วันนี้รู้สึกไม่ค่อยสบาย (5) “เติ้น” แปลว่า เธอ ตัวอย่างเช่น เติ้นกินข้าวแล้วม้าย = เธอกินข้าวแล้วหรือยัง

ภาษาถิ่นพัทลุง คำที่ (1) “โคม” แปลว่า กะละมัง ตัวอย่างเช่น ไปหยิบโคมให้แม่ที = ไปหยิบกะละมังให้แม่หน่อย (2) “หรอยหนัด” แปลว่า อร่อยมาก ตัวอย่างเช่น กินข้าวที่บ้านหรอยหนัด = กินข้าวที่บ้านอร่อยมาก (3) “ไซ่” แปลว่า ทำไม ตัวอย่างเช่น ไซ่เป็นคนพันนั้น = ทำไมเป็นคนแบบนั้น (4) “พรื้อโฉ้” แปลว่า ไม่ค่อยสบาย ตัวอย่างเช่น วันนี้รู้สึกพรื้อโฉ้จัง = วันนี้รู้สึกไม่ค่อยสบาย (5) “เติ้น” แปลว่า เธอ ตัวอย่างเช่น เติ้นกินข้าวแล้วม้าย = เธอกินข้าวแล้วหรือยัง

2 min