33분

ไขความลับพลังความเร็ว 100 เมตร ในการแข่งขันโตเกียวโอลิมปิกเกมส์ 2020 SIMPLE SCIENCE

    • 과학

มาพูดคุยกันต่อเนื่องถึงเบื้องหลังที่ทำให้นักกีฬา วิ่งได้เร็วกว่าคนทั่ว ๆ ไป ความอัศจรรย์ของร่างกายมนุษย์ และปัจจัยที่พานักวิ่งไปสู่เหรียญทองโตเกียวโอลิมปิกเกมส์ ในสนามการแข่งขันวิ่ง 100 เมตรไปกับ รองศาสตราจารย์ ดร.เทพมนัส บุปผาอินทร์ อาจารย์ประจำภาควิชาสรีรวิทยา ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยาการออกกำลังกาย (หลักสูตรนานาชาติ) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล















00:46 ทำไมนักวิ่งถึงทำเวลาได้น้อยกว่าคนทั่วไป







รองศาสตราจารย์ ดร.เทพมนัส บุปผาอินทร์ เกริ่นถึง 4 ปัจจัยที่ทำให้นักวิ่งทำเวลาได้น้อยกว่าคนทั่วไป และสามารถคว้าชัยในการแข่งขันได้ และปูความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเคลื่อนที่เบื้องต้น ซึ่งเป็นหลักการสำคัญที่เชื่อมโยงกับปัจจัยทั้ง 4 อย่างที่ส่งผลต่อการวิ่งระยะสั้นโดยตรง







หลักการในการเคลื่อนที่เบื้องต้น







ลักษณะการถีบตัวเพื่อเคลื่อนที่ต้านแรงโน้มถ่วงของโลก และความหนาแน่นอากาศ (แรงลม)















04:18 ปัจจัยทางสรีรวิทยา (Physiological Factor)







เมื่อการวิ่งคือการออกแรงผลักตัวเองให้เคลื่อนไปข้างหน้า ทำอย่างไรเราจึงจะสร้างแรงถีบพื้นส่งตัวให้พุ่งออกไปข้างหน้าได้แรงที่สุด และสร้างความเร็วได้ภายในเวลาไม่กี่วินาที รองศาสตราจารย์ ดร.เทพมนัส บุปผาอินทร์ อธิบายถึงกล้ามเนื้อและระบบพลังงานที่ร่างกายใช้ในการวิ่งระยะสั้น และระบบประสาทและการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นซึ่งส่งผลโดยตรงกับการออกตัวของนักกีฬาพร้อมยกกรณีตัวอย่าง นอกจากนั้นยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมถึงพันธุกรรม การฝึกฝนที่มีส่วนในการเพิ่มปริมาณกล้ามเนื้อ และอิทธิพลของฮอร์โมนเพศต่อการเพิ่มขนาดกล้ามเนื้ออีกด้วย







ปัจจัยทางสรี

มาพูดคุยกันต่อเนื่องถึงเบื้องหลังที่ทำให้นักกีฬา วิ่งได้เร็วกว่าคนทั่ว ๆ ไป ความอัศจรรย์ของร่างกายมนุษย์ และปัจจัยที่พานักวิ่งไปสู่เหรียญทองโตเกียวโอลิมปิกเกมส์ ในสนามการแข่งขันวิ่ง 100 เมตรไปกับ รองศาสตราจารย์ ดร.เทพมนัส บุปผาอินทร์ อาจารย์ประจำภาควิชาสรีรวิทยา ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยาการออกกำลังกาย (หลักสูตรนานาชาติ) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล















00:46 ทำไมนักวิ่งถึงทำเวลาได้น้อยกว่าคนทั่วไป







รองศาสตราจารย์ ดร.เทพมนัส บุปผาอินทร์ เกริ่นถึง 4 ปัจจัยที่ทำให้นักวิ่งทำเวลาได้น้อยกว่าคนทั่วไป และสามารถคว้าชัยในการแข่งขันได้ และปูความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเคลื่อนที่เบื้องต้น ซึ่งเป็นหลักการสำคัญที่เชื่อมโยงกับปัจจัยทั้ง 4 อย่างที่ส่งผลต่อการวิ่งระยะสั้นโดยตรง







หลักการในการเคลื่อนที่เบื้องต้น







ลักษณะการถีบตัวเพื่อเคลื่อนที่ต้านแรงโน้มถ่วงของโลก และความหนาแน่นอากาศ (แรงลม)















04:18 ปัจจัยทางสรีรวิทยา (Physiological Factor)







เมื่อการวิ่งคือการออกแรงผลักตัวเองให้เคลื่อนไปข้างหน้า ทำอย่างไรเราจึงจะสร้างแรงถีบพื้นส่งตัวให้พุ่งออกไปข้างหน้าได้แรงที่สุด และสร้างความเร็วได้ภายในเวลาไม่กี่วินาที รองศาสตราจารย์ ดร.เทพมนัส บุปผาอินทร์ อธิบายถึงกล้ามเนื้อและระบบพลังงานที่ร่างกายใช้ในการวิ่งระยะสั้น และระบบประสาทและการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นซึ่งส่งผลโดยตรงกับการออกตัวของนักกีฬาพร้อมยกกรณีตัวอย่าง นอกจากนั้นยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมถึงพันธุกรรม การฝึกฝนที่มีส่วนในการเพิ่มปริมาณกล้ามเนื้อ และอิทธิพลของฮอร์โมนเพศต่อการเพิ่มขนาดกล้ามเนื้ออีกด้วย







ปัจจัยทางสรี

33분

인기 과학 팟캐스트

이과형의 과학상점
이과형
과학하고 앉아있네
과학하고 앉아있네
과장창 : 모두에게 과학이 필요한 시간
팟빵
Radiolab
WNYC Studios
BBC Inside Science
BBC Radio 4
Hidden Brain
Hidden Brain, Shankar Vedantam