57 min

เข้าใจสุขทุกข์ด้วยพยับแดด [6713-1u‪]‬ 1 สมการชีวิต

    • Health & Fitness

ช่วงไต่ตามทาง:
- การมองโลกในแง่ดีในทางพระพุทธศาสนา คือ การไม่คิดไปในทางที่เป็นอกุศล ในขณะเดียวกันก็ต้องไม่ประมาท ไม่เผลอเพลิน มีความระมัดระวังอย่างสูงไม่ให้อกุศลธรรมเกิดขึ้นในใจ
- คุณปฐวี เมื่อได้ฟังธรรมะแล้ว พอเจอเรื่องร้าย ก็ไม่ค่อยรู้สึกอะไร ปัญหาที่เคยรู้สึกว่าหนัก ก็กลายเป็นง่ายขึ้น เบาขึ้น มีแสงสว่างเกิดขึ้นในจิตใจ มีความร่าเริงแจ่มใสขึ้น เพราะสติที่ตั้งขึ้นไว้ได้ ทำให้จิตไม่ได้ไหลไปตามอารมณ์ความรู้สึกจิตใจตั้งมั่นอยู่ได้อย่างดี
ช่วงปรับตัวแปรแก้สมการ:
- เมื่อเป็นลูกศิษย์ของพระพุทธเจ้าแล้ว อย่าเอาแต่รักสุขเกลียดทุกข์ แต่ต้องเข้าใจสุขทุกข์ ผ่านปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “พยับแดด” พยับแดด ไม่ใช่ “ของจริง” แค่ “ดูเหมือนว่าจริง” คือ แม้เราจะเห็นแต่ไกลว่าข้างหน้าเหมือนมีน้ำอยู่บนถนน แต่เมื่อขับรถไปถึงจุดนั้นแล้วกลับไม่มีน้ำ มันไม่ใช่ของจริง การปรุงแต่งมองเห็นพยับแดดว่าเป็นสิ่งที่มีตัวตนนั้น เปรียบเหมือนกับทุกข์ที่เราปรุงแต่งไปก่อนหน้า ซึ่งเป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นจริง ๆ ณ วินาทีนั้นแล้ว ทำให้ทุกข์ไม่ได้ลดลงและสุขไม่ได้มากขึ้น
- เราจะมาหาของจริง ในสิ่งที่ไม่ใช่ของจริงจะไปเจอได้อย่างไร ในพยับแดดมีแต่แสงแต่ไม่มีตัวตน “เราจะไปหาสุข ในสิ่งที่เป็นความทุกข์ ก็จะหาไม่เจอ เปรียบเหมือนกับการไปหาน้ำในตัวพยับแดด เราจะไม่เจอน้ำ สิ่งที่เจอจะมีเพียงความว่างเปล่าจากความเป็นตัวตน”
- ผู้ที่เข้าใจเรื่องพยับแดด จะไม่ไปตามหาสุขในสิ่งที่เป็นทุกข์ อย่าไปคาดหวังจากพยับแดดที่จริง ๆ แล้ว มันไม่มีอะไร ก็จะไม่ทุกข์ นั่นคือ “การยอมรับ” พระพุทธเจ้าใช้คำว่า “ปริญญา” คือ ความรอบรู้เรื่องทุกข์
- เมื่อ

ช่วงไต่ตามทาง:
- การมองโลกในแง่ดีในทางพระพุทธศาสนา คือ การไม่คิดไปในทางที่เป็นอกุศล ในขณะเดียวกันก็ต้องไม่ประมาท ไม่เผลอเพลิน มีความระมัดระวังอย่างสูงไม่ให้อกุศลธรรมเกิดขึ้นในใจ
- คุณปฐวี เมื่อได้ฟังธรรมะแล้ว พอเจอเรื่องร้าย ก็ไม่ค่อยรู้สึกอะไร ปัญหาที่เคยรู้สึกว่าหนัก ก็กลายเป็นง่ายขึ้น เบาขึ้น มีแสงสว่างเกิดขึ้นในจิตใจ มีความร่าเริงแจ่มใสขึ้น เพราะสติที่ตั้งขึ้นไว้ได้ ทำให้จิตไม่ได้ไหลไปตามอารมณ์ความรู้สึกจิตใจตั้งมั่นอยู่ได้อย่างดี
ช่วงปรับตัวแปรแก้สมการ:
- เมื่อเป็นลูกศิษย์ของพระพุทธเจ้าแล้ว อย่าเอาแต่รักสุขเกลียดทุกข์ แต่ต้องเข้าใจสุขทุกข์ ผ่านปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “พยับแดด” พยับแดด ไม่ใช่ “ของจริง” แค่ “ดูเหมือนว่าจริง” คือ แม้เราจะเห็นแต่ไกลว่าข้างหน้าเหมือนมีน้ำอยู่บนถนน แต่เมื่อขับรถไปถึงจุดนั้นแล้วกลับไม่มีน้ำ มันไม่ใช่ของจริง การปรุงแต่งมองเห็นพยับแดดว่าเป็นสิ่งที่มีตัวตนนั้น เปรียบเหมือนกับทุกข์ที่เราปรุงแต่งไปก่อนหน้า ซึ่งเป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นจริง ๆ ณ วินาทีนั้นแล้ว ทำให้ทุกข์ไม่ได้ลดลงและสุขไม่ได้มากขึ้น
- เราจะมาหาของจริง ในสิ่งที่ไม่ใช่ของจริงจะไปเจอได้อย่างไร ในพยับแดดมีแต่แสงแต่ไม่มีตัวตน “เราจะไปหาสุข ในสิ่งที่เป็นความทุกข์ ก็จะหาไม่เจอ เปรียบเหมือนกับการไปหาน้ำในตัวพยับแดด เราจะไม่เจอน้ำ สิ่งที่เจอจะมีเพียงความว่างเปล่าจากความเป็นตัวตน”
- ผู้ที่เข้าใจเรื่องพยับแดด จะไม่ไปตามหาสุขในสิ่งที่เป็นทุกข์ อย่าไปคาดหวังจากพยับแดดที่จริง ๆ แล้ว มันไม่มีอะไร ก็จะไม่ทุกข์ นั่นคือ “การยอมรับ” พระพุทธเจ้าใช้คำว่า “ปริญญา” คือ ความรอบรู้เรื่องทุกข์
- เมื่อ

57 min

Top Podcasts In Health & Fitness

Good Mind | The Cloud Podcast |
The Cloud Podcast
Tara Lipinski: Unexpecting
Todd Kapostasy, Tara Lipinski
Feel Better, Live More with Dr Rangan Chatterjee
Dr Rangan Chatterjee: GP & Author
R U OK
THE STANDARD
Porpear พ.แพร์  แคร์เรื่องหญิง
Porpear
Đắp Chăn Nằm Nghe Tun Kể
Tun Cảm Ơn

More by วัดป่าดอนหายโศก

5 นิทานพรรณนา
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
2 จิตตวิเวก
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
3 ใต้ร่มโพธิบท
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
1 สมการชีวิต
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
6 ขุดเพชรในพระไตรปิฏก
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana