59 min

เข้าใจทุกข์ด้วยปัญญา [6724-7q‪]‬ 7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)

    • Society & Culture

Q : คิดนึกโกรธด่าว่าอยู่ในใจแต่ไม่ได้พูดออกมา จะถือว่าบาปแต่ไม่ผิดศีลใช่หรือไม่?
A : อยู่ที่ว่าเรานับสัมมาวาจาอีก 3 ข้อ คือ ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดเพ้อเจ้อ เข้ามาเป็นศีลด้วยหรือไม่ การเตือนตนด้วยตนเป็นสิ่งดี ให้เราฝึกปฏิบัติให้ละเอียดยิ่ง ๆ ขึ้นไป จะเกิดการพัฒนารักษากายวาจาใจได้

Q : จากนิทานพรรณา "ผู้รู้เสียงสัตว์" ถ้าไม่มีญาณวิเศษนี้เราจะดำรงตนในธรรมได้อย่างไร?
A : การพ้นทุกข์ได้จริง ๆ ไม่จำเป็นต้องรู้เสียงสัตว์ก็ได้ ถ้าเราจะรอดปลอดภัยจากวัฎฎะต้อง “อาสวักขยญาณ” คือญาณในการรู้อริยสัจสี่ เป็นทางเอกเป็นทางเดียวที่จะรอดพ้นจากวัฏสงสารได้

Q : การละวาง การปล่อยวาง การวางเฉย มีความหมายเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
A : สามคำนี้เป็นคนละคำคำว่า “ละวาง” ในที่นี้หมายถึง การละคือปหานะ คือกำจัดทิ้งเสีย ใช้กับตัณหากับสิ่งที่เป็นอกุศลเท่านั้น คำว่า“ปล่อยวาง” (ใช้กับขันธ์ 5) หมายถึง การวิราคะคือวิมุต คือพ้นแล้วก็ปล่อยวาง ซึ่งจะเป็นส่วนของมรรค 8 ใช้ตามสายของมรรค คำว่า “วางเฉย” หมายถึง อุเบกขาเวลามีอะไรมากระทบแล้ววางเฉยได้ / ละวางกับปล่อยวาง การจะละวางขันธ์ 5 ต้องเข้าใจขันธ์ 5 เข้าใจกายโดยความเป็นของปฏิกูล พอเข้าใจกายโดยความเป็นของปฏิกูลแล้วเห็นตามความเป็นจริง จะมีนิพพิทาคือความหน่าย มีวิราคะคือความคลายกำหนัด ปล่อยวางได้ ละได้ ตรงนี้คือวิมุตคือพ้น ระหว่างนิพพิทากับวิมุตก็ต้องมีการปล่อยวางตรงนี้ซึ่งเกิดขึ้นกับขันธ์ 5

Q : "ชวนจิต"มีความสัมพันธ์กับการทำสมาธิและวิปัสสนาอย่างไร ทำไมต้องมี 7 ขณะ?
A : เป็นเรื่องของอภิธรรม

Q : ควรมีความอดทนหรือปล่อยไปตามกรรม?
A : หน้าที่ของพ่อแม่ที่ควรมีต่อลูก คือ ห้ามลูกเสียจาก

Q : คิดนึกโกรธด่าว่าอยู่ในใจแต่ไม่ได้พูดออกมา จะถือว่าบาปแต่ไม่ผิดศีลใช่หรือไม่?
A : อยู่ที่ว่าเรานับสัมมาวาจาอีก 3 ข้อ คือ ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดเพ้อเจ้อ เข้ามาเป็นศีลด้วยหรือไม่ การเตือนตนด้วยตนเป็นสิ่งดี ให้เราฝึกปฏิบัติให้ละเอียดยิ่ง ๆ ขึ้นไป จะเกิดการพัฒนารักษากายวาจาใจได้

Q : จากนิทานพรรณา "ผู้รู้เสียงสัตว์" ถ้าไม่มีญาณวิเศษนี้เราจะดำรงตนในธรรมได้อย่างไร?
A : การพ้นทุกข์ได้จริง ๆ ไม่จำเป็นต้องรู้เสียงสัตว์ก็ได้ ถ้าเราจะรอดปลอดภัยจากวัฎฎะต้อง “อาสวักขยญาณ” คือญาณในการรู้อริยสัจสี่ เป็นทางเอกเป็นทางเดียวที่จะรอดพ้นจากวัฏสงสารได้

Q : การละวาง การปล่อยวาง การวางเฉย มีความหมายเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
A : สามคำนี้เป็นคนละคำคำว่า “ละวาง” ในที่นี้หมายถึง การละคือปหานะ คือกำจัดทิ้งเสีย ใช้กับตัณหากับสิ่งที่เป็นอกุศลเท่านั้น คำว่า“ปล่อยวาง” (ใช้กับขันธ์ 5) หมายถึง การวิราคะคือวิมุต คือพ้นแล้วก็ปล่อยวาง ซึ่งจะเป็นส่วนของมรรค 8 ใช้ตามสายของมรรค คำว่า “วางเฉย” หมายถึง อุเบกขาเวลามีอะไรมากระทบแล้ววางเฉยได้ / ละวางกับปล่อยวาง การจะละวางขันธ์ 5 ต้องเข้าใจขันธ์ 5 เข้าใจกายโดยความเป็นของปฏิกูล พอเข้าใจกายโดยความเป็นของปฏิกูลแล้วเห็นตามความเป็นจริง จะมีนิพพิทาคือความหน่าย มีวิราคะคือความคลายกำหนัด ปล่อยวางได้ ละได้ ตรงนี้คือวิมุตคือพ้น ระหว่างนิพพิทากับวิมุตก็ต้องมีการปล่อยวางตรงนี้ซึ่งเกิดขึ้นกับขันธ์ 5

Q : "ชวนจิต"มีความสัมพันธ์กับการทำสมาธิและวิปัสสนาอย่างไร ทำไมต้องมี 7 ขณะ?
A : เป็นเรื่องของอภิธรรม

Q : ควรมีความอดทนหรือปล่อยไปตามกรรม?
A : หน้าที่ของพ่อแม่ที่ควรมีต่อลูก คือ ห้ามลูกเสียจาก

59 min

Top Podcasts In Society & Culture

NerdCast
Jovem Nerd
Rádio Novelo Apresenta
Rádio Novelo
É nóia minha?
Camila Fremder
Bom dia, Obvious
Marcela Ceribelli
Rádio Escafandro
Tomás Chiaverini
Que História É Essa, Porchat?
GNT

More by วัดป่าดอนหายโศก

7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
5 นิทานพรรณนา
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
6 ขุดเพชรในพระไตรปิฏก
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
4 คลังพระสูตร
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
3 ใต้ร่มโพธิบท
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana
2 จิตตวิเวก
ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana