8 episodes

ตอบข้อมูลสุขภาพโดยอาจารย์แพทย์และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง จากแอปพลิเคชันชีวี ปรึกษาหมอที่ใช่ จากที่ไหนก็ได้

ต้องการความเป็นส่วนตัวในการปรึกษาหมอ คลิก http://onelink.to/67qt49

หมอชีวี มีคำตอ‪บ‬ Chiiwii

    • Health & Fitness

ตอบข้อมูลสุขภาพโดยอาจารย์แพทย์และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง จากแอปพลิเคชันชีวี ปรึกษาหมอที่ใช่ จากที่ไหนก็ได้

ต้องการความเป็นส่วนตัวในการปรึกษาหมอ คลิก http://onelink.to/67qt49

    Ulthera vs Thermage เลือกยังไง เครื่องไหนเหมาะกับหน้าเรา

    Ulthera vs Thermage เลือกยังไง เครื่องไหนเหมาะกับหน้าเรา

    สวัสดีค่ะ วันนี้มาพบกับ คุณหมอ ณัฐพล ลาภเจริญกิจ ในเรื่องของเครื่อง Thermage กับ Ulthera ซึ่งคุณหมอณัฐพลเป็น Medical director และ Founder ของ Infiniz Clinic ซึ่งเป็นคลินิก อันดับ 1 ปรับรูปหน้าโดยไม่ศัลยกรรม

    Ulthera

    เครื่อง Ulthera จะใช้ลักษณะของการยกกระชับ โดยการใช้คลื่นเสียง โดยจะใช้หัวทิป หรือว่าตัว Transducer ในการที่จะส่องลงไปที่ผิวหน้าคนไข้ในขณะทำและสามารถที่จะสแกนผิวหน้าคนไข้ ลงไปถึงตำแหน่งที่เราต้องการอย่างแท้จริง แล้วก็ต้องอาศัยประสบการณ์ของแพทย์ ในการที่จะส่องวิเคราะห์ชั้นผิว และเราสามารถจะมองเห็นชั้นผิวได้ด้วยในขณะทำ เหมือนกับคุณหมอที่ทำ Ultrasound ดู​อวัย​วะหรือเด็กอ่อนในครรภ์​

    Thermage

    เครื่อง Thermage จะใช้เทคโนโลยีคลื่นวิทยุ หรือว่า Radio Frequency ที่มีพลังงานสูงที่สุดในกลุ่มของคลื่นวิทยุทั้งหมด ส่งผ่านความร้อน โดยจะถูกโฟกัสลงไปที่ผิวชั้นล่างอย่างเดียว พร้อมกับป้องกันผิวส่วนบนให้เย็น เพื่อไม่ให้ได้รับผลข้างเคียงจากความร้อน ซึ่งเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของเจ้าตัว Thermage

    ผิวของคนเรามีทั้งหมดประมาณ 4 ชั้น

    1.) ผิวส่วนบนหรือผิวชั้นขี้ไคล

    2.) ผิวส่วนล่าง เป็นที่อยู่ของโปรตีน ในกลุ่มของคอลลาเจน ผิวชั้นนี้จะเป็นจุดที่ส่งผลต่อความอ่อนเยาว์, ความนุ่มนวล

    3.) ชั้นไขมัน

    4.) ชั้นกล้ามเนื้อ

    Q: ทั้งสองเครื่องนี้จัดการกับผิวเราในระดับของความลึกเดียวกันเลยไหม ?

    A: เครื่อง Ulthera จะช่วยในเรื่องของการกระชับเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ที่เรียกว่าชั้น SMAS ซึ่งมีหน้าที่ พยุงโครงหน้าทั้งหมดของเรา ให้มีสภาพที่ตึงกระชับอยู่ ชั้น SMAS จะเป็นเนื้อเยื่อบาง ๆ อยู่ระหว่างชั้นไขมันกับชั้นกล้ามเนื้อ เราสามารถใช้ Ulthera เข้าไปแก้ไข้ให้มีความตึงกระชับได้ แต่ว่าตัว Thermage จะส่งคลื่นวิทยุลงไป ที่ชั้นไขมัน แล

    • 8 min
    Egg freezing ทางเลือกของผู้หญิ​งยุค​ใหม่ กับ พญ.ศศวิมล ปรีชาพรกุล

    Egg freezing ทางเลือกของผู้หญิ​งยุค​ใหม่ กับ พญ.ศศวิมล ปรีชาพรกุล

    วันนี้พวกเรามาคุยกันเรื่องการวางแผนครอบครัวเพื่ออนาคตกับ พญ.ศศวิมล ปรีชาพรกุล สูตินรีแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านผู้มีบุตรยาก แพทย์​ที่ปรึกษาประจำแอปพลิเคชัน Chiiwii



    ⚠️ กฎหมายอุ้มบุญ ⚠️

    การแช่แข็งไข่ เพื่อจะนำไปใช้ในอนาคต สามารถทำได้โดยที่ยังไม่ต้องแต่งงาน แต่เมื่อเราอยากจะผสมไข่ของเรา เราจำเป็นที่จะต้องนำทะเบียนสมรสมาให้คุณหมอ (เช่นเดียวกับ​การทำ IVF)​ 



    ⚠️ การแช่แข็งไข่ไม่ใช้การการันตีแต่เป็นการเพิ่มโอกาส ในการเป็นแม่ ⚠️



    ⛔️ ข้อห้าม ⛔️

    1.) มีโรคที่เสี่ยงอันตรายต่อการให้ฮอร์โมน เช่น มะเร็งที่เกี่ยวกับนรีเวช 

    2.) กลุ่มที่มีโรคทางอายุรกรรม แบบรุนแรง

    3.) กลุ่มโรคที่ ไม่สามารถฉีดยาสลบ หรือดมยาสลบ



    บุคคลใดบ้างที่เข้าสู่การพิจารณาว่าควรจะแช่แข็งไข่ได้

    1.) คนที่ยังไม่ได้แต่งงาน แต่มีความตั้งใจในชีวิตว่าวันหนึ่งจะเป็นคุณแม่

    2.) กลุ่มคนไข้ที่มีโรค เช่น กลุ่มโรค chocolate cyst บางคนต้องตัดรังไข่ หรือต้องกินฮอร์โมน ที่ทำให้ไข่ไม่โตอีกต่อไป เราจึงเอาไข่ที่มีอยู่มาเก็บไว้ก่อน และก็อีกกลุ่มหนึ่ง ก็คือกลุ่มที่เป็นมะเร็ง ที่จะต้องให้เคมีบำบัด รังสีรักษา และอาจจะมีผลกับไข่ ทำให้จำนวนไข่ในรังไข่ลดลง

    3.) กลุ่มคนที่จะทำการข้ามเพศแต่เขาอยากจะรักษาโอกาสที่จะมีลูกด้วยไข่ของตัวเอง



    Q: ช่วงอายุที่แนะนำสำหรับการแช่แข็งไข่

    A: อายุ 20 - 30 ต้น ๆ ถือว่าดีที่สุด พอหลัง 32 ปีไปแล้วคุณภาพ ไข่จะค่อย ๆ ลดลง มีแนวโน้มที่จะมีความผิดปกติของโครโมโซมมากขึ้น อายุยิ่งน้อย ยิ่งมีโอกาสได้ไข่คุณภาพสูงกว่าเมื่อเราอายุมากขึ้น



    Q: อัตราความสำเร็จ

    A: ขึ้นอยู่กับอายุและจำนวน ถ้าเรายิ่งอายุมาก เราก็ต้องใช้ไข่มากขึ้น เพราะโอกาสมีโครโมโซมผิดปกติมากขึ้น โดย

    • 12 min
    ไขข้อข้องใจ ว่าด้วยเรื่องวัคซีนโควิด ช่วงตอบ​คำถา​ม 27-02-2021

    ไขข้อข้องใจ ว่าด้วยเรื่องวัคซีนโควิด ช่วงตอบ​คำถา​ม 27-02-2021

    ไขข้อข้องใจเรื่องวัคซีนโควิดกับ อาจารย์ นพ.ณัฐพล พฤทธิ์พงศ์พันธุ์ อายุรแพทย์โรคติดเชื้อ ประจำโรงพยาบาลกรุงเทพพิษณุโลก อาจารย์แพทย์ ที่โรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก และโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ 

    🧪 หลักการผลิตวัคซีน ตอนนี้จะมีอยู่ 4 เทคโนโลยีหลัก ๆ 

    1.) ใช้ไวรัสที่ยังมีชีวิตทำให้อ่อนฤทธิ์ลง

    2.) วัคซีนที่ทำจากตัวไวรัสที่ตายแล้ว

    3.) ใช้ mRNA หรือว่าสารพันธุกรรมที่ใช้ในการสร้างโปรตีนผิวของไวรัส

    4.) เป็น virus vector คือการเอาสารพันธุกรรม มาใส่ใน vector ที่ไม่ทำอันตรายต่อคน

    ⛔️ คนที่ไม่ควรฉีดวัคซีน ⛔️

    คนที่ภูมิคุ้มกันของร่างกายไม่ดี ภูมิคุ้มกันบกพร่อง คนที่กินยากดภูมิต้านทาน
    เป็นต้น



    Q: ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อความแม่นยำของ vaccine efficacy ?

    A: vaccine efficacy คืออัตราส่วนของการเกิดโรคในคนที่ฉีดวัคซีน เพื่อดูว่าวัคซีน
    สามารถ
    ป้องกันการเกิดโรคได้มากแค่ไหน ซึ่งมีปัจจัยที่เป็นตัวแปรในการวัดผลค่อนข้าง
    หลากหลาย เช่น  ในพื้นที่นั้นๆ มีการระบาดเยอะแค่ไหน, พฤติกรรมของคน, วัฒนธรรมของคน ฯลฯ เพราะฉะนั้น vaccine efficacy การวัด การแปรผลเทียบกันในแต่ละพื้นที่จะค่อนข้างยาก  บอกได้เพียงคร่าว ๆ เท่านั้น



    Q: อาการจะแย่ลงไหม ถ้าฉีดวัคซีนขณะติดเชื้ออยู่ ?

    A: ในส่วนนี้ยังไม่มีข้อมูลงานวิจัยออกมา แต่ในความเห็นของ อาจารย์ นพ.ณัฐพล พฤทธิ์พงศ์พันธุ์ คิดว่าน่าจะไม่เกี่ยวกัน



    Q: อายุต่ำกว่า 18 ปี ฉีดวัคซีนได้ไหม ?

    A: ยังไม่มีการทดลองฉีดวัคซีน
    ในคนอายุ
    น้อยกว่า 18 ปี ตอนนี้จึงแนะนำให้ฉีดในคนที่อายุ 18 ปี ขึ้นไปเท่านั้น




    Q: ประสิทธิภาพของวัคซีน Sinovac กับ Astrazeneca เป็นอย่างไร? ทำไมไทยถึงไม่ใช้ Pfizer กับ Moderna ?

     A: เราไม่ทราบข้อมูล
    ของ Sinovac
    มากนัก แต่ของ AstraZeneca มีการตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ ที่เป็นมาตรฐ

    • 7 min
    หมอชีวี มีคำตอบ EP.05 ถุงมือล่องหน ป้องกันคุณจาก COVID19 และ RSV ได้ยาวนานถึง 12 ชั่วโมง

    หมอชีวี มีคำตอบ EP.05 ถุงมือล่องหน ป้องกันคุณจาก COVID19 และ RSV ได้ยาวนานถึง 12 ชั่วโมง

    เบื่อมั้ย❓ ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ทุกวันแต่ #แพ้แอลกอฮอล์ 💦 มือแห้ง ผิวแตก มือเหี่ยว  ✨พบกับนวัตกรรมใหม่ล่าสุดของเจลล้างมือใน LIVE EP.51 "ถุงมือล่องหน ป้องกันคุณจาก COVID19 และ RSV ได้ยาวนานถึง 12 ชั่วโมง" กับ ภก. ธนาคาร ทำนุราศี ในวันอาทิตย์ที่ 6 มีนาคมนี้ เวลา 9.00 น.  🛡 นวัตกรรมใหม่ล่าสุดของเจลล้างมือ ที่่มี Thin film Technology เป็นเหมือน #ถุงมือล่องหน ทำหน้าที่เคลือบมือ ปกป้องคุณและเด็กๆ จากเชื้อโรค COVID-19*, RVS** และเชื้อก่อโรคมือ เท้า ปาก* ได้นานถึง 12 ชั่วโมง  🤩 นวัตกรรมสุดเจ๋ง ​ที่การันตีด้วยรางวัล Silver Medal และ Canadian Special Awards จากงานประกวดนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ จากประเทศแคนาดา 🥇  

    *ผลการทดสอบจาก คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
    **ผลการทดสอบจาก ภาควิชาชีวเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  

    ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางโรคติดเชื้อ แบบเป็นส่วนตัวเพิ่มเติมได้ที่ http://onelink.to/7um4su  

    • 39 min
    หมอชีวี มีคำตอบ EP.04 ไขข้อข้องใจ ว่าด้วยเรื่องวัคซีนโควิด

    หมอชีวี มีคำตอบ EP.04 ไขข้อข้องใจ ว่าด้วยเรื่องวัคซีนโควิด

    เตรียมคำถามเกี่ยวกับ #วัคซีนโควิด ไว้ให้พร้อม พบกับ นพ.ณัฐพล พฤทธิ์พงศ์พันธุ์  อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคติดเชื้อ ประจำแอป Chiiwii เลยค่าา

    หากต้องการปรึกษา นพ.ณัฐพล พฤทธิ์พงศ์พันธุ์
    ผ่านแอป "Chiiwii ปรึกษาหมอออนไลน์ " คลิก  http://onelink.to/tm255k

    • 1 hr 31 min
    หมอชีวี มีคำตอบ EP.03: "ผู้​หญิง​ทุกคนต้องฟัง HPV Vaccine ตัวใหม่ 9 สายพันธุ์" แอดมินฟังแล้ว ผู้ชายควรฟ

    หมอชีวี มีคำตอบ EP.03: "ผู้​หญิง​ทุกคนต้องฟัง HPV Vaccine ตัวใหม่ 9 สายพันธุ์" แอดมินฟังแล้ว ผู้ชายควรฟ

    อยากรู้ว่า HPV คืออะไร? วัคซีนนี้ต้องฉีดแบบไหน? เหมาะกับใคร? และอีกสาระพัดคำถาม ห้ามพลาด

    ถ้าต้องการปรึกษาพญ.อัญชุลี พฤตฒิวรนันท์
    สูตินรีแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านมีบุตรยากแบบเป็นส่วนตัว

    คลิก "Chiiwii ปรึกษาหมอออนไลน์ " http://onelink.to/yc4q29

    • 1 hr 27 min

Top Podcasts In Health & Fitness

On Purpose with Jay Shetty
iHeartPodcasts
Huberman Lab
Scicomm Media
The School of Greatness
Lewis Howes
Passion Struck with John R. Miles
John R. Miles
Uncared For
Lemonada Media
Pursuit of Wellness
Mari Llewellyn